▂▃▅▆█♫ WELCOME to TRANSLATION™ (1103301) : การแปล 1.♫◤ยินดีต้อนรับเข้าสู่ TRANSLATION™ (1103301) : การแปล 1.◥ ...♥Miss You So Much♥ ...█▆▅▃▂

Tuesday, May 31, 2016

หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน

SUKSAN CHAIRAKSA NO.5681114011
ENGLISH MAJOR ’01, FACULTY OF EDUCATION.
NSTRU


หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน

          ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ช่วยให้การติดต่อทางธุรกิจมีความสะดวกสบายมากขึ้น ทำให้คนทำงานที่อยู่กันคนละประเทศมีความเข้าใจกันมากขึ้น จึงเป็นที่เข้าใจตรงกันว่าภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักของการทำงาน หากพูดไม่ได้ ก็อาจจะทำให้เกิดผลกระทบกับการทำงานได้ หรือแม้แต่การสมัครงานเอง หากเราไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี โอกาสที่จะได้งานทำก็มีน้อยลง ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางที่ใช้ติดต่อสื่อสาร และยังเป็นภาษาที่ใช้ในการทำงาน เมื่อเราต้องติดต่อกับคนต่างวัฒนธรรม ภาษาอังกฤษถูกนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน และจะมีอิทธิพลมากขึ้นเรื่อย ๆ สำหรับการทำงานที่คนทั้งโลกต้องมาติดต่อสื่อสารกัน ธุรกิจสามารถเดินหน้าไปได้อย่างราบรื่น เมื่อทุกคนสามารถเข้าใจในสิ่งที่อีกคนหนึ่งพูดถึง เราจึงต้องเรียนภาษาอังกฤษในรายวิชาการแปลซึ่งเป็นวิชาที่สำคัญ
          การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง เป็นหลักการถอดตัวอักษรไทยเป็นอักษรโรมันอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถาน ใช้ในสำหรับหนังสือและสิ่งพิมพ์ของรัฐบาล และป้ายชื่อถนนต่างๆ ในประเทศไทย รูปแบบใหม่ประกาศใช้เมื่อ 11 มกราคม พ.ศ. 2542 การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน มีจุดประสงค์เขียนไว้ในประกาศว่า เพื่อให้อ่านคำไทยในตัวอักษรโรมันได้ใกล้เคียงกับคำเดิม แต่ก็ได้รับการวิพากษ์ว่ายังไม่ดีเพียงพอสำหรับชาวต่างชาติในการอ่านภาษาไทย
1. ตารางเทียบเสียงพยัญชนะและสระ
พยัญชนะ                                                       สระ
อักษรไทย
อักษรโรมัน
พยัญชนะต้น
พยัญชนะสะกด
k
k
kh
k
kh
k
kh
k
kh
k
kh
k
ng
ng
ch
t
ch
t
ch
t
s
t
ch
t
y
n
d
t
t
t
th
t
d หรือ th
t
th
t
n
n
d
t
t
t
th
t
th
t
th
t
n
n
b
p
p
p
ph
p
f
p
ph
p
f
p
ph
p
m
m
y
-
r
n
rue, ri, roe
-
ฤๅ
rue
-
l
n
lue
-
ฦๅ
lue
-
w
-
s
t
s
t
s
t
h
-
l
n
h
-
  
        อักษรไทย
อักษรโรมัน
, –ั, รร (มีตัวอักษรอื่นตาม), –
a
รร (ไม่มีตัวอักษรตาม)
an
am
–ิ, –ี
i
–ึ, –ื
ue
–ุ, –ู
u
เ–ะ, เ–็, เ–
e
แ–ะ, แ–
ae
โ–ะ, –, โ–, เ–าะ, –
o
เ–อะ, เ–ิ, เ–อ
oe
เ–ียะ, เ–ีย
ia
เ–ือะ, เ–ือ
uea
–ัวะ, –ัว, –ว–
ua
ใ–, ไ–, –ัย, ไ–ย, –าย
ai
เ–า, –าว
ao
–ุย
ui
โ–ย, –อย
oi
เ–ย
oei
เ–ือย
ueai
วย
uai
–ิว
io
เ–็ว, เ–ว
eo
แ–็ว, แ–ว
aeo
เ–ียว
iao

                  







































2. ความหมายของคำ
        เช่น หน่วยคำ คำ คำประสม คำทับศัพท์ วิสามานยนาม คำนำหน้านาม

3. การใช้เครื่องหมาย “”
          เพื่อแยกพยางค์

4.  การแยกคำ
          โดยเขียนแยกคำ

5. การใช้อักษรโรมันตัวใหญ่
        คำแรกของวิสามานยนาม และอักษรตัวใหญ่ตัวแรกของย่อหน้า

6. การถอดชื่อภูมิศาสตร์
        ถอดโดยไม่ต้องแปลเป็นภาษาอังกฤษ

7. การถอดคำทับศัพท์
        วิสามานยนามเขียนตามคำเดิม



8. การถอดเครื่องหมายต่างๆ
          ๆ ให้ถอดซ้ำๆ
          ฯ เขียนเต็ม
          ฯพณฯ ถอดเป็น Phanathan
          ฯลฯ อ่านว่า ละ

9. การถอดคำย่อ
          ถอดมาเต็มรูปแบบดีที่สุด

10. การถอดตัวเลข
        ตามหลักการอ่านอักขรวิธีไทย

การวิพากษ์วิจารณ์
  • ไม่มีสัญลักษณ์หรือระบบแทนเสียงวรรณยุกต์
  • สระสั้น และสระยาว ใช้ตัวอักษรเดียวกัน เช่น อะ และ อา ใช้ ตัวอักษร a
  • เสียง /pʰ/ (, , ภ) ถูกแทนด้วย ตัวอักษร ph ทำให้อ่านผิดว่าเป็น /f/ เหมือนคำในภาษาอังกฤษ เช่น Phuket (ภูเก็ต) อาจอ่านผิดเป็น "ฟักอิต" (พ้องกับ fuck it ในภาษาอังกฤษ)
  • เสียงสระ "โอะ โอ" กับ "เอาะ ออ" ใช้ตัวอักษร o ตัวเดียวกัน เช่น คำว่า "พล" และ "พร" เขียนเหมือนกันเป็น phon ถูกอ่านผิดเป็น "ฝน"
  • เสียง /tʰ/ (, , , , , ธ) ถูกแทนด้วย ตัวอักษร th ทำให้อ่านผิดว่าเป็น /θ/ หรือ /ð/ เหมือนคำในภาษาอังกฤษ เช่น Thewet (เทเวศร์) อาจอ่านผิดเป็น "เดอะเว็ท"
  • เสียง /tɕ/ (จ) ถูกแทนด้วย ตัวอักษร ch ทำให้อ่านผิดว่าเป็น /tɕʰ/ เช่น คำว่า "จิต" และ "ชิด" เขียนเหมือนกันเป็น chit ถูกอ่านผิดเป็น "ชิท"
          นอกจากนี้ ถึงแม้ระบบของราชบัณฑิตยสถานจะที่ใช้ในเอกสารราชการเกือบทั้งหมด แต่ก็มีการเขียนคำทับศัพท์ในรูปแบบอื่น เพื่อหลีกเลี่ยงเสียงที่เพี้ยนไปจากเสียงภาษาไทย และเลี่ยงความหมายที่ไม่ดีในภาษาอังกฤษและภาษาอื่น เช่นคำว่า "ธง" หรือ "ทอง" เมื่อทับศัพท์ตามระบบราชบัณฑิตทั้งสองคำจะสะกดได้คำว่า "thong" ซึ่งในภาษาอังกฤษหมายถึง ธอง (กางเกงชั้นในประเภทหนึ่ง) จึงเลี่ยงไปใช้คำว่า "tong" แทน
          หากเราไม่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลาง การทำงานของเราจะประสบหรือพบเจอกับปัญหาอะไรบ้างหรือไม่ เราจะทำอย่างไรให้คนในอีกภาษาหนึ่งเข้าใจในสิ่งที่เราพูด เมื่อไม่ใช้ภาษาอังกฤษ และนี่คือเหตุผล 3 ข้อที่ทำให้ภาษาอังกฤษยังคงมีความสำคัญกับคนทำงานภาษาอังกฤษได้กลายภาษาที่ถูกใช้อย่างแพร่หลาย และยังเป็นการเปิดโลกกว้างทางความคิด คนทำงานที่สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี จะได้เปรียบคนทำงานคนอื่น ๆ เพราะสามารถติดต่อพูดคุยกับคนได้ทุกรูปแบบ ทุกชาติ ทุกภาษา โอกาสที่จะมีความก้าวหน้าในการทำงานเกิดขึ้นจากการใช้ภาษาอังกฤษด้วยเช่นกัน เราจึงต้องเพิ่มความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษให้มีมากขึ้น

https://th.wikipedia.org/wiki/การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน

No comments:

Post a Comment